A mini-retrospective of Thailand’s forgotten photography master

 

Liang Ewe

 

1 October – 27 November 2011

 

 

Liang Ewe (Chinese for ‘Good Friend’), Phuket’s venerable old photography studio, was opened for business in 1933 by Aree Khorchareon (Chinese name ‘Khor Eng Lee’, 1911 – 1992)

 

Though entirely self-taught, his great talent both in the direction of his sitters and in technical proficiency – the selection of lenses, camera angles and beautiful lighting, kept his studio the favourite of the island’s elite until his death in 1992. The vast treasure trove of glass and acetate film negatives that he left behind is an invaluable social and cultural heritage: portraits of Phuket inhabitants spanning the pivotal transition in Phuket’s history, from the end of the tin-mining gold rush to the early beginnings of the tourist boom.

 

Kathmandu Photo Gallery is proud to present the cream of ‘Liang Ewe’, printed from his original glass negatives, all previously unexhibited, to honour this master photographer as part of our ‘Seeking Forgotten Thai Photographers’ project on neglected artists hitherto unrecorded by Thai photographic history.

 

 

 

เลี่ยงอิ้ว

นิทรรศการภาพถ่ายฝีมือชั้นครู

 

1 ตุลาคม – 27 พฤศจิกายน 2554

 

เลี่ยงอิ้ว (“เพื่อนที่แสนดี” ในภาษาไทย) ชื่อร้านถ่ายรูปเก่าแก่อับดับหนึ่งของภูเก็ต เริ่มเปิดบริการเมื่อปี ๒๔๗๖ โดย นายอารีย์ ขอเจริญ (ชื่อจีน ‘ข้อเอ่งหลี่’ ๒๔๕๔ – ๒๕ภ๕) ผู้ศึกษาการถ่ายรูปด้วยตนเอง แต่เพราะมีความสามารถในการกำกับท่าทางของแบบ ผสมผสานเทคนิคการถ่ายภาพ การใช้มุมกล้อง ขนาดเลนซ์ และแสงเงาที่สวยงาม ทำให้กิจการของเขาประสบความสำเร็จเป็นเบอร์หนึ่งของเกาะแห่งนี้จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ๒๕๓๕ โดยท่านได้ทิ้งฟิล์มกระจกและฟิล์มพลาสติกอะซีเทตไว้มากมายหลายหมื่นชิ้น ฟิล์มเหล่านี้คือมรดกทางสังคมและศิลปวัฒนธรรมที่หาค่ามิได้ เป็นภาพถ่ายพอร์เทรตชาวภูเก็ตในช่วงเวลาที่เหมืองแร่ดีบุกรุ่งเรืองช่วงสุดท้าย ก่อนที่เกาะแห่งนี้จะก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเช่นทุกวันนี้

 

คัดมันดู โฟโต้ แกลเลอรี่ มีความภูมิใจที่จะเสนอผลงานภาพถ่ายของ เลี่ยงอิ้ว” ที่อัดขยายจากฟิล์มกระจกต้นฉบับ ซึ่งไม่เคยแสดงที่ใดมาก่อน เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติให้แก่ช่างภาพชั้นครู” อันนับเป็นหนึ่งในโครงการของแกลเลอรี่ ค้นหาครูถ่ายภาพไทย” (Seeking Forgotten Thai Photographers) ที่ประวัติศาสตร์ภาพถ่ายไทยยังมิได้บันทึก

 

……………………